หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563)
1. ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Public Health Program in Public Health
2. ชื่อปริญญา
ภาษาไทย ชื่อเต็ม : สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์)
ชื่อย่อ : ส.บ. (สาธารณสุขศาสตร์)
ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Bachelor of Public Health (Public Health)
ชื่อย่อ : B.P.H. (Public Health)
3. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 143 หน่วยกิต
4. โครงสร้างหลักสูตร
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน 30 หน่วยกิต
2. หมวดวิชาเฉพาะวิชาชีพ จำนวน 107 หน่วยกิต
3. หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวน 6 หน่วยกิต
5. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักวิชาการสาธารณสุข
2. เจ้าพนักงานสาธารณสุข/เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
3. นักวิชาการส่งเสริมสุขภาพ
4. ผู้ประสานงานโครงการด้านสุขภาพ
5. ผู้ช่วยนักวิจัยในหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และองค์กรต่างๆ
6. พนักงานโรงพยาบาลรัฐบาล เอกชน หรือบริษัทเอกชน ในส่วนงานบริการสุขภาพ
6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายทุกแผนการเรียนหรือเทียบเท่า
2. สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือเทียบเท่า
3. ไม่มีความประพฤติเสื่อเสีย ไม่เคยถูกศาลพิพากษาถึงขั้นจำคุก หรืออยู่ระหว่างคดีอาญา
4. เป็นผู้ที่มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่เจ็บป่วย หรือเป็นโรคติดต่อร้ายแรง ไม่มีความผิดปกติที่เป็นอุปสรรคต่อการเรียน
5. สำหรับผู้สมัครต่างชาติต้องสอบผ่านการทดสอบภาษาไทยจามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
6. มีคุณสมบัติอื่นครบถ้วนตามที่มหาวิทยาลัยเนชั่นกำหนด
ภาษาไทย : หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Public Health Program in Public Health
2. ชื่อปริญญา
ภาษาไทย ชื่อเต็ม : สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์)
ชื่อย่อ : ส.บ. (สาธารณสุขศาสตร์)
ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Bachelor of Public Health (Public Health)
ชื่อย่อ : B.P.H. (Public Health)
3. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 143 หน่วยกิต
4. โครงสร้างหลักสูตร
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน 30 หน่วยกิต
2. หมวดวิชาเฉพาะวิชาชีพ จำนวน 107 หน่วยกิต
3. หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวน 6 หน่วยกิต
5. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักวิชาการสาธารณสุข
2. เจ้าพนักงานสาธารณสุข/เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
3. นักวิชาการส่งเสริมสุขภาพ
4. ผู้ประสานงานโครงการด้านสุขภาพ
5. ผู้ช่วยนักวิจัยในหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และองค์กรต่างๆ
6. พนักงานโรงพยาบาลรัฐบาล เอกชน หรือบริษัทเอกชน ในส่วนงานบริการสุขภาพ
6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายทุกแผนการเรียนหรือเทียบเท่า
2. สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือเทียบเท่า
3. ไม่มีความประพฤติเสื่อเสีย ไม่เคยถูกศาลพิพากษาถึงขั้นจำคุก หรืออยู่ระหว่างคดีอาญา
4. เป็นผู้ที่มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่เจ็บป่วย หรือเป็นโรคติดต่อร้ายแรง ไม่มีความผิดปกติที่เป็นอุปสรรคต่อการเรียน
5. สำหรับผู้สมัครต่างชาติต้องสอบผ่านการทดสอบภาษาไทยจามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
6. มีคุณสมบัติอื่นครบถ้วนตามที่มหาวิทยาลัยเนชั่นกำหนด
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม